Terms of Reference : TOR ตู้ชุมสายโทรศัพท์ PABX

รายละเอียด TOR สำหรับระบบ ตู้ชุมสายโทรศัพท์ ตู้สาขาโทรศัพท์ PABX PBX IP-PBX

จำนวนอุปกรณ์และระบบ มีคุณสมบัติเฉพาะทางเทคนิคของระบบและอุปกรณ์
อย่างน้อยขั้นต่าดังนี้
4.2.1. วงจรเชื่อมต่อเข้ากับตู้ชุมสายโทรศัพท์เดิม IP Trunk จานวน 15 Channel
4.2.2. วงจรสายนอกชนิด ISDN PRI จานวน 1 E1
4.2.3. วงจรโทรศัพท์ภายในชนิด Analog จานวนอย่างน้อย 800 วงจร
4.2.4. วงจรโทรศัพท์ภายใน ชนิด Digital จานวนอย่างน้อย 16 วงจร
4.2.5. ชุดพนักงานรับสายโทรศัพท์พร้อม Head set จานวนอย่างน้อย 2 ชุด
4.2.6. ระบบตอบรับอัตโนมัติ จานวนอย่างน้อย 8 วงจร
4.2.7. ระบบคิดคานวณค่าใช้จ่ายค่าใช้โทรศัพท์ จานวนอย่างน้อย 1 ชุด
4.2.8. เครื่องโทรศัพท์ดิจิตอล จานวนอย่างน้อย 16 เครื่อง
4.2.9. เครื่องโทรศัพท์ธรรมดา อนาล็อค จานวนอย่างน้อย 800 เครื่อง
4.2.10. ระบบจ่ายกาลังไฟและสารองกรณีไฟฟ้าดับไม่ต่ากว่า 4 ช.ม. จานวน 1 ชุด
4.2.11. แผงกระจายสาย Main Distribution Frame( MDF ) ขนาด 1200 จานวน 1 ชุด
4.2.12. อุปกรณ์ในการแปลงสัญญาณ IP ไปบน Fiber Optic จานวน 2 ชุด
4.2.13. การปรับปรุงระบบตู้ชุมสายโทรศัพท์ที่ทางศิริราชใช้งานอยู่รุ่นOmniiPCX 4400
R5.0Ux ให้เป็น Version ปัจจุบัน และเพิ่มวงจรเชื่อมต่อตู้ชุมสายโทรศัพท์ใหม่ IP
Trunk จานวน 15 Channel
4.2.14. การติดตั้งข่ายสายโทรศัพท์ชนิดใต้ดินพร้อมอุปกรณ์ประกอบผ่านท่อร้อยสาย ใต้ดิน
ซึ่งมีการติดตั้งท่อร้อยสายไว้แล้ว ทาการเชื่อมต่อระหว่างอาคาร A และ อาคาร B โดยใช้
สายเยลกันน้า ขนาดสาย 0.5 mm. จานวนคู่สายอย่างน้อย 600 คู่สาย

4.3 คุณสมบัติทั่วไปทางเทคนิค
4.3.1 เป็นตู้ชุมสายโทรศัพท์อัตโนมัติอีเล็กโทรนิกส์ระบบดิจิตอล ( Digital PABX ) ควบคุม
การทางานด้วยระบบ Communication Server-Main ซึ่งประกอบด้วย Microprocessor 32
Bit โดยมีการเก็บข้อมูลหลักบน Hard disk และสามารถทาการสารองข้อมูลไปยังสื่ออื่นๆ
ได้
4.3.2 ระบบสามารถรองรับระบบควบคุมสารอง Communication Server-Back up อีก 1 ชุด เพื่อ
ใช้ควบคุมการทางาน กรณีระบบควบคุมหลักขัดข้อง ระบบควบคุมสารองสามารถทา
หน้าที่แทนได้ทันทีโดยไม่มีผลกระทบต่อการสื่อสารที่กาลังมีอยู่ ( Hot-standby and
Automatic switch over )
4.3.3 ตู้ชุมสายโทรศัพท์นี้จะต้องสามารถรองรับ Busy Hour Call Completions (BHCC) ได้
อย่างน้อย 100,000 BHCC หรือ 100,000 BHCA
4.3.4 สามารถทางานบนระบบปฏิบัติการ Linux Operating System, Unix Compliant Operating
System, Windows Operation หรือ Operation System เฉพาะ
4.3.5 มี Ethernet Port ( TCP/IP ) อยู่บน CPU ทาให้สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์บนโครงข่าย
ข้อมูลขององค์กร ( LAN ) ได้ โดยไม่ต้องมี Gateway ภายนอก
4.3.6 เป็นระบบเปิด ( Openness ) สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตามมาตรฐานต่างๆดังนี้ทุก
มาตรฐานได้ เช่น Ethernet TCP/IP , CSTA , TSAPI, TAPI, XML, QSIG และ ISDN
4.3.7 ตู้ชุมสายโทรศัพท์จะต้องเป็นแบบ Modular Design สามารถติดตั้งขยายระบบเพียงเพิ่ม
อุปกรณ์แผงวงจรเข้าในระบบโดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลง หรือหยุดการใช้งานระบบเดิม
4.3.8 สามารถเชื่อมต่อกับสายนอกขององค์การโทรศัพท์ได้ทั้งแบบสัญญาณ Analog Trunk
(Dial Pulse) และ DTMF รวมถึง Digital trunk (ISDN) แบบ BRI (Basic Rate Interface),
2B+D และ PRI (Primary Rate Interface), 30B+D ได้
4.3.9 สามารถต่อเชื่อมเป็นเครือข่ายเดียวกันกับตู้ชุมสายฯ อื่นๆ แบบ Digital Tie Line ทั้งแบบ
E1 และรองรับ Protocol Q.SIG, Euro ISDN
4.3.10 สามารถรองรับการขยายเลขหมายได้ไม่ต่ากว่า 4,000 เลขหมาย
4.3.11 การกาหนดเลขหมายโทรศัพท์ (Numbering Scheme) ต้องสามารถกาหนดได้อย่าง
ยืดหยุ่น (Flexible Numbering Plan) และสามารถกาหนดเลขหมายภายในได้ไม่ต่ากว่า 7
Digits โดยที่ผู้ใช้งานสามารถกาหนดให้ใช้ปะปนกันได้
4.3.12 มารถเพิ่มระบบโทรศัพท์ไร้สายในสานักงาน โดยการเพิ่ม Base Station ทั้งแบบ
Indoor หรือ Outdoor และใช้วงจรสายภายใน แบบ Digital จานวน 1 หรือ 2 วงจรเพื่อ
เชื่อมต่อกับ Base Station ได้เมื่อต้องการ และความถี่ที่ใช้ต้องได้รับอนุญาตจาก
กรมไปรษณีย์โทรเลข (กทช.)และต้องแสดงหนังสือรับรอง
4.3.13 ระบบที่เสนอต้องสามารถทา Hospitality Management ได้ เช่น การเปิด/เปิด เลขหมาย
4.3.14 โทรศัพท์, การ Check-in/Check-out เป็นต้น และต้องสามารถทางานร่วมกับระบบ Hospitality property management system (PMS) ได้
4.3.15 รองรับ Application ต่างๆ เช่น Contact Center และ Unified Messaging ได้โดยเป็นผลิตภัณฑ์ยี่ห้อเดียวกันกับตู้ชุมสายโทรศัพท์
4.3.16 วงจรสายนอกของระบบจะต้องสามารถ Detect สัญญาณ Busy Tone ได้ เพื่อป้องกันสัญญาณค้างของสายตอนนอก หาก วงจรสายนอกไม่สามารถ Detect สัญญาณ Busy Tone ดังกล่าวได้จะต้องมีอุปกรณ์เพื่อทาหน้าที่ดังกล่าว
4.3.17 สามารถเพิ่มอุปกรณ์แปลงข้อมูลจากเสียงเป็น IP ติดตั้งอยู่ภายในระบบเช่นเดียวกับแผงวงจรอื่นๆ ทาให้สามารถส่งข้อมูลเสียง ( Voice ) บนโครงข่ายข้อมูล ( IP Data network ) ได้ โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์ Gateway ภายนอก ( Voice Over IP ) และรับมาตรฐานการ VoIP ได้ทั้ง H.323 และ SIP (Session Initial Protocol) และการ Compression แบบ G.723.1 และ G.729a ได้
4.3.18 ต้องมีระบบในการในการสืบค้นข้อมูล ชื่อและเลขหมายโทรศัพท์ ได้ ผ่าน Web Browser เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเลขหมายโทรศัพท์สามารถ update ข้อมูลได้
4.3.19 รองรับการทางานตามมาตรฐาน DHCP ได้
4.3.20 รองรับการใช้งานอุปกรณ์ตามมาตรฐาน SIP (Session Initiation Protocol)
4.4 ความสามารถในการทางานของตู้ชุมสายโทรศัพท์
4.4.1 ตู้ชุมสายโทรศัพท์มีระบบตอบรับโทรศัพท์อัตโนมัติ ให้ผู้ที่โทรจากภายนอกสามารถกดเลขหมายภายในได้โดยตรงโดยไม่ต้องผ่านพนักงานรับสายรองรับไม่น้อยกว่า 8 Channels
4.4.2 ในขณะที่กาลังติดต่อหมายเลขใดหมายเลขหนึ่งอยู่ สามารถโอนสายให้เลขหมายนั้นไปติดต่อกับเลขหมายหนึ่งได้ทั้งอัตโนมัติและโดยผ่านพนักงานรับโทรศัพท์ (Call Transfer)
4.4.3 ในกรณีที่สายเรียกเข้าไปยังสายภายในที่ไม่ว่าง สายภายในที่ถูกเรียกนั้นจะสามารถพักสายที่กาลังพูดอยู่และตอบรับสายที่เรียกเข้ามาได้โดยไม่ต้องวางหู เมื่อพูดจบแล้วสามารถกลับมาพูดกับสายที่พักไว้ได้ (Back & Forth)
4.4.4 สามารถใช้รหัสเพื่อพักสายที่เครื่องภายในเครื่องหนึ่งเพื่อไปรับสายที่เครื่องภายในอีก
เครื่องหนึ่งได้ (Call Park)
4.4.5 สามารถกาหนดให้เครื่องภายในบางเครื่องเมื่อถูกเรียกแต่ไม่ว่าง หรือไม่รับสายเกินเวลาที่กาหนด หรือเมื่อต้องการไปดังที่เครื่องภายในอื่นแทน (Diversion of Calls on Busy or onno reply or Follow-Me)
4.4.6 เมื่อเรียกสายไปยังหมายเลขภายใน แต่ไม่มีผู้รับสาย ผู้เรียกสายสามารถกดรหัสเพื่อแจ้งให้เรียกกลับ Message Lamp ที่เครื่องของผู้ถูกเรียกจะกระพริบเพื่อเตือนให้ผู้ถูกเรียกรู้ว่า
มีผู้ติดต่อมาในระหว่างที่ไม่อยู่ เมื่อผู้ถูกเรียกยกหูขึ้น สายจะติดต่อกลับไปยังเครื่องต้นทาง
4.4.7 เครื่องภายในสามารถรับสายแทนเครื่องภายในอื่นๆ ที่ถูกเรียกแต่ไม่มีผู้รับสายได้ (Call Pick-up)
4.4.8 เมื่อเรียกสายไปยังเลขหมายภายในขณะที่เครื่องนั้นไม่ว่าง(จองสาย) สามารถบังคับให้มีการเรียกกลับอัตโนมัติทันทีที่เครื่องนั้นว่าง (Automatic Call Back On Busy) ได้อย่างน้อย 1000 ช่องสัญญาณ
4.4.9 เมื่อเรียกสายไปยังเลขหมายภายในที่ไม่ว่าง สามารถส่งสัญญาณรอแทรกเข้าไปได้เพื่อ
เตือนว่ามีสายคอยอยู่ (Call Waiting or Camp on Busy)
4.4.10 สามารถทาการ Log-on/Log-off บนเครื่องโทรศัพท์ที่ว่างอยู่ให้เป็นเลขหมายภายในที่
Log-on ได้โดยมีสิทธิในการใช้งานตามเลขหมายภายในนั้น และเมื่อไม่ใช้งานก็ทาการ
Log-out ให้เป็นเครื่องโทรศัพท์ว่าง
4.4.11 สามารถกาหนดเลขหมายภายในให้เป็นกลุ่มๆได้ แต่ละกลุ่มสามารถมีเครื่องภายในซึ่ง
เมื่อมีผู้เรียกเลขหมายกลุ่มตู้ชุมสายโทรศัพท์จะทาการเลือกเลขหมายภายในกลุ่มที่ว่าง
ให้ (Group Hunting)
4.4.12 เครื่องภายในซึ่งสามารถหมุนออกภายนอกได้เอง ต้องสามารถกดรหัสล็อคเครื่องเพื่อ
ป้องกันผู้อื่นมาใช้และสามารถปลดล็อคโดยการกดรหัสส่วนตัวด้วยตัวอง (Padlock)
4.4.13 เมื่อเครื่องภายในหมุนไปยังเลขหมายปลายทางและได้รับสัญญาณไม่ว่าง หากเครื่อง ภายในไม่วางหูภายในเวลาที่กาหนด ตู้ชุมสายโทรศัพท์จะส่งสัญญาณเตือนให้เครื่องภายในนั้นวางหู (Miscall Status)
4.4.14 รองรับสามารถทาการประชุมได้พร้อมกันถึง 2 กลุ่มสนทนา และในแต่ละกลุ่มสามารมีคู่สายได้มากถึง 20 คู่สาย
4.4.15 เมื่อมีผู้เรียกจากภายนอกเข้ามายังเครื่องโทรศัพท์ภายในที่ได้ทาการโอนสายไปยังหมายเลขภายนอกหรือโทรศัพท์มือถือ ( Forwarding Outside ) ทันทีที่ผู้ที่เรียกเข้ามา
4.4.16 จากภายนอกหรือเครื่องปลายทางวางสายลง ระบบจะทาการ Release สายนอกทั้งสองสายให้ใช้งานได้โดยไม่เกิดการ Lock ของสายนอกทั้งสอง ( Busy Tone Detection )
4.4.17 สามารถกาหนดการเล่นเพลง Music on hold ตามช่วงเวลาต่างๆได้ล่วงหน้าเป็นรายวัน ,ช่วงเวลา
4.4.18 สามารถใช้รหัสการแทนที่ เพื่อเปลี่ยนความสามารถของเครื่องภายในใดๆให้มีขีดความสามารถเทียบเท่ากับเครื่องโทรศัพท์ภายในของตนเอง เพื่อสามารถใช้บริการต่างๆ โดยไม่จาเป็นต้องกลับมาใช้เครื่องภายในของตนเอง โดยการใช้รหัสการแทนที่นี้ ผู้ใช้จาเป็นต้องป้อนหมายเลขเดิมของตนเองและหมายเลขรหัสส่วนตัว เพื่อที่ว่าหากมี
การใช้เครื่องภายในนั้นโทรออกสายนอก ตู้ชุมสายโทรศัพท์จะบันทึกค่าใช้จ่ายการใช้สายจากผู้ที่ใช้รหัสแทนที่นั้น ( Substitution / Authorization Code )
4.4.19 จะต้องมีระบบ Least cost routing เพื่อให้ระบบตู้ชุมสายโทรศัพท์สามารถเลือกเส้นทางที่เหมาะสมโดยอัตโนมัติ เมื่อมีการต่อสายออกสายนอก
4.4.20 ระบบที่เสนอต้องสามารถรองรับการใช้งานร่วมกับ Smart Phone ที่สนับสนุนเครือข่าย GSM และ WiFi ได้ในทันที โดย Smart Phone สามารถสลับสัญญาณระหว่างเครือข่าย GSM และ WiFi เพื่อให้การสนทนาเป็นไปอย่างต่อเนื่องได้ ซึ่งสามารถใช้งานได้ เพียงการเพิ่ม Smart Phone และ license เพียงอย่างเดียว
4.5 ชุดพนักงานรับสาย (Operator Console)
เป็นเครื่องโทรศัพท์หรืออุปกรณ์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับทาหน้าที่พนักงานสลับสายโดยเฉพาะ ทางานร่วมกันระบบโทรศัพท์หรือตู้ชุมสายโทรศัพท์ ที่เสนอได้เป็นอย่างดี
4.5.1 มีการแสดงผล โดยอย่างน้อยต้องแสดงผล ดังนี้
– วัน เดือน ปี
– ชื่อหรือเลขหมายภายในที่กาลังสนทนา
– เลขหมายที่โทรออก
– สถานะของหมายเลขที่ถูกเรียกเช่น กาลังถูกเรียก (Ringing), หมายเลขไม่ว่าง (Busy)
– จานวนสายที่เรียกเข้ามาหาพนักงานรับสาย (Call Waiting)
4.5.2 มีทั้ง Headset และ Handset ให้สามารถใช้งานได้
4.5.3 ชุดพนักงานรับสายสามารถทาการ Transfer สายได้ทั้ง no answer และ busy
4.6 ระบบคานวณค่าใช้จ่ายค่าใช้โทรศัพท์ (Billing System)
4.6.1 ซอฟแวร์ในการจัดการตู้ชุมสายโทรศัพท์ที่เสนอต้องสามารถใช้ระบบปฏิบัติการบนWindowsหรือ Unix โดยมีการทางานแบบ Client-Server ติดตั้งซอฟแวร์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีลักษณะการทางานเป็นแบบ GUI (Graphic User Interface) โดยระบบสามารถเชื่อมต่อกับ
ระบบตู้ชุมสายโทรศัพท์ผ่านเครือข่าย LAN หรือ Serial port (V.24) ได้
4.6.2 ระบบที่เสนอสามารถทาการ Check-in/Check-out เพื่อสั่งเปิด/ปิด เลขหมาย โทรศัพท์ได้
4.6.3 ระบบซอฟแวร์ที่เสนอต้องมีระบบป้องกันการใช้งาน (Password Protection) เฉพาะผู้มีสิทธิในการใช้งานเท่านั้น จึงจะสามารถทาการเพิ่มเติม ปรับปรุง แก้ไข ข้อมูลได้
4.6.4 จะต้องเป็นระบบที่สามารถทาการประมวลผลข้อมูลระบบโทรศัพท์ เพื่อคานวณค่าใช้จ่าย
โดยจะต้องสามารถบันทึกรายละเอียดการใช้งานของเลขหมายโทรศัพท์ เพื่อคานวณค่าใช้จ่าย
การโทรศัพท์ โดยเรียกพิมพ์ได้เมื่อต้องการซึ่งระบบคานวณค่าใช้จ่ายการใช้โทรศัพท์ที่เสนอ
จะต้องทางานแบบ GUI
4.6.5 มีความสามารถในการเก็บข้อมูลที่คานวณแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน มีบันทึกการรับส่งข้อมูลระหว่างตู้ชุมสายโทรศัพท์และระบบคิดคานวณค่าใช้จ่ายเพื่อใช้ในการตรวจสอบข้อมูลย้อนหลังไม่น้อยกว่า 15 วัน
4.6.6 ระบบการบันทึกข้อมูล และการคานวณค่าใช้จ่ายโทรศัพท์ จะต้องสามารถบันทึกการโทรออกของเลขหมายภายใน (Extension) การโทรภายในท้องถิ่น (Local) การโทรเข้ามือถือ (Mobile) การโทรทางไกลภายในประเทศ (Domestic) และการโทรทางไกลต่างประเทศ (Oversea) โดยสามารถทางานได้ตลอด 24 ชม.
4.6.7 ระบบที่เสนอต้องสามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงอัตราค่าใช้บริการ (Rate Table) ได้ และต้องสามารถกาหนดอัตราค่าใช้บริการโทรศัพท์ให้น้อย หรือมากกว่าความเป็นจริงได้
4.6.8 รายงาน (Report) ของระบบ Call Accounting ต้องสามารถพิมพ์รายงานต่างๆ ได้อย่างน้อยดังต่อไปนี้
– รายงานประจาวัน (Daily Report)
– รายงานประจาเดือน (Monthly Report)
– รายงานยอดรวมการใช้โทรศัพท์แยกตามผู้ใช้แต่ละราย (Extension Number)
– รายละเอียดยอดสรุปต่างๆ (Summary Report)
4.6.9 รายงานสามารถทาการ export ข้อมูลในรูปแบบ Excel file เพื่อไปใช้ประโยชน์ในงานอื่นได้
4.6.10 สามารถทารายงานออกเป็นชนิด PDF file หรือ Excel File ประมวลผลและวิเคราะห์ปริมาณการใช้โทรศัพท์ได้
4.6.11 มีรายละเอียดเครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานอย่างน้อยหรือดีกว่า จานวน 1 เครื่องดังนี้
– CPU Dual Core ความเร็ว 3.0 GHz หรือดีกว่า
– RAM ECC ไม่น้อยกว่า2 GB
– Hard disk 500 GB จานวน 2 ลูก ทางานแบบ RAID 1หรือดีกว่า
– Network Gigabit port อย่างน้อย 1 port
– DVD- RW อย่างน้อย 1 ชุด
– OS : Windows XP Professional หรือดีกว่า ที่มีถูกลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย
– Monitor LCD 17″ & Mouse & Keyboard ผลิตภัณฑ์เดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ นาเสนอจานวน 1 ชุด
– ลาโพง สาหรับคอมพิวเตอร์ที่นาเสนอ จานวน 1 ชุด
-เครื่อง Laser printer ขาว-ดา ขนาด A4 มีความเร็วในการพิมพ์ อย่างน้อย 10 แผ่นต่อนาที
จานวน 1 เครื่อง
-ตู้ Rack 42 U สาหรับติดตั้งอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์
-Switch Layer 2 ขนาด 12 ports จานวนอย่างน้อย 1 ชุด
4.7 ระบบจ่ายไฟฟ้า (Power Supply)
4.7.1 ระบบไฟฟ้ากระแสสลับ 220 VAC เพื่อจ่ายให้กับตู้ชุมสายฯ และ Charge Battery เพื่อใช้ในการสารองไฟฟ้าเมื่อไฟฟ้าดับ
4.7.2 ระบบจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ประกอบด้วย เครื่องชาร์ทแบตเตอรี่ และแบตเตอรี่ ซึ่งถูกชาร์ทไฟให้เต็มอยู่ตลอดเวลา
4.7.3 แบตเตอรี่ เป็นชนิด Sealed Lead Acid Battery แบบ Maintenance Free ไม่ต้องเติมน้ากลั่น
4.7.4 ระยะเวลาในการสารองกระแสไฟฟ้าต้องสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าสารอง รวมทั้งระบบตู้สาขาโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องทุกระบบได้ไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมง
4.8 อุปกรณ์แผงกระจายสายรวม (Main Distribution Frame) ด้านจ่ายสัญญาณโทรศัพท์
4.8.1 แผงกระจายสายรวม ไม่เป็นแบบบัดกรีหรือขันสกูร เพื่อง่ายในการเข้าสาย โดยการเข้าสายและถอดสาย สามารถทาได้โดยเครื่องมือเฉพาะ
4.8.2 แผงกระจายสายรวมแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ตอนแรกสาหรับพักสายนอกและสายกระจายภายใน ตอนที่สองสาหรับพักสายที่ออกมาจากตู้ชุมสายฯ
4.8.3 มีอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่าเท่ากับ จานวนของสายนอกชนิดอนาล็อก จากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย
4.8.4 จานวนคู่สายของแผงพักสาย ต้องมากกว่าจานวนคู่สายของตู้ชุมสายฯ ที่กาหนดให้ไม่น้อยกว่า 20%
4.8.5 มีระบบสายดินซึ่งมีค่าความต้านทานไม่เกิน 2 
4.9 เครื่องรับโทรศัพท์กดปุ่มระบบดิจิตอล (Digital Telephone) จานวน 16 เครื่อง
4.9.1 เป็นเครื่องโทรศัพท์แบบตั้งโต๊ะ (Desk Type)
4.9.2 มีปุ่ม Volume สาหรับความดังของเสียงกระดิ่งเรียกเข้า
4.9.3 มี Hands-free สามารถสนทนาได้โดยไม่ต้องยกหูโทรศัพท์
4.9.4 มี Display ชนิด Graphical display ขนาดไม่น้อยกว่า pixels 100 x 160 หรือดีกว่า
4.9.5 มีปุ่ม Programmable key สาหรับ Program ฟังก์ชั่นการทางานต่างๆ ได้ไม่น้อยกว่า 10 ปุ่ม
4.9.6 มีหลอดไฟสาหรับแสดงผล (Message Lamp) สาหรับการทางานร่วมกับระบบฝากข้อความ(Voice Mail System)
4.9.7 เป็นผลิตภัณฑ์เดียวกับตู้ชุมสายโทรศัพท์
4.10 อุปกรณ์ในการแปลงสัญญาณ IP/Fiber Optic จานวน 2 ชุด
4.10.1 เป็นอุปกรณ์ในการแปลงสัญญาณ จาก UTP เป็น Fiber Optic
4.10.2 ต้องสามารถเชื่อมสัญญาณ Fiber optic ชนิด single-mode โดยสามารถส่งข้อมูลได้ที่ระยะทาง 15 กิโลเมตรได้เป็นอย่างน้อย
4.10.3 สามารถส่งผ่านข้อมูลได้ที่ความเร็ว 100Mbps เป็นอย่างน้อย
4.10.4 มีฟังก์ชั่นในการตรวจสอบสถานะของ link หากพบว่ามี link ใดใช้การไม่ได้ ต้องสามารถ shutdown การเชื่อมต่อเพื่อบอกให้อุปกรณ์ปลายทางทราบถึงสถานะของ link ได้
4.10.5 มี LED เพื่อแสดงสถานะการทางานของอุปกรณ์ เช่น Link Activity, Full Duplex และ Collision ได้เป็นอย่างน้อย
4.10.6 รองรับการส่งผ่าน VLAN ที่ทางานแบบ 802.1Q ได้รองรับ MAC Address ได้ 2000 Address เป็นอย่างน้อย
4.11 เครื่องโทรศัพท์ธรรมดา อนาล็อค จานวนอย่างน้อย 800 เครื่อง
4.11.1 สามารถใช้งานในระบบ DTMF.
4.11.2 ได้รับมาตรฐาน ISO หรือ มอก. หรือ TOT.
4.11.3 มีปุ่ม REDIAL , ปุ่ม PAUSE , ปุ่ม FLASH ,มีปุ่ม MUTE
4.11.4 ปรับความดังเสียงกริ่งเรียกเข้าได้ / ปรับความดังเสียงขณะสนทนาได้
4.11.5 มีไฟแสดงข้อความเสียง (Massage Lamp)